ถ่ายทางช้างเผือก เปิดม่านชัตเตอร์ไว้รอ ปรากฏในยามที่ฟ้าสว่าง เปิดม่านชัตเตอร์ไว้รอ ถ่ายทางช้างเผือก ปรากฏในยามที่ฟ้าสว่าง

ถ่ายทางช้างเผือก เปิดม่านชัตเตอร์ไว้รอ ปรากฏในยามที่ฟ้าสว่าง

การซึมซับเอาบรรยากาศท้องฟ้ากลางคืนจะมองตาเปล่าก็ดี หรือจะบันทึกภาพเก็บเอาไว้ดูย้อนหลังก็ให้ความรู้สึกที่ต่างไป ถ่ายทางช้างเผือก และกิจกรรมการถ่ายภาพท้องฟ้าคืน ดวงดาว ดวงจันทร์ ถือว่าเป็นกิจกรรมที่ติดอันดับความนิยมของนักถ่ายภาพเช่นกัน กิจกรรมนี้เป็นการรวมเอาหลายอรรถรสไว้ด้วยกันทั้งการได้ออกท่องเที่ยวนอกสถานที่ ได้ชมท้องฟ้า และได้ถ่ายภาพ หนึ่งในการถ่ายภาพท้องฟ้าที่มักถูกพูดถึงอยู่เสมอต้องยกให้การตามหา ถ่ายทางช้างเผือก ซึ่งปัจจุบันจะปรากฎให้เห็นได้แค่เฉพาะพื้นที่ที่ไม่ถูกรบกวนจากแสงไฟ ทำให้เจ้าสิ่งนี้ถูกพบเห็นได้แค่บางพื้นที่ที่เอื้ออำนวยเท่านั้น ดาราจักรแสนยิ่งใหญ่ที่ไม่ได้มีแค่ให้ช้างเดิน                 ที่มาของชื่อ ถ่ายทางช้างเผือก นั้นไม่ได้เกิดขึ้นเพราะมีดวงดาวที่เป็นรูปช้างรวมตัวกันอยู่แต่อย่างใด แต่ชื่อเรียกนี้ถูกกำหนดขึ้นมาในประเทศไทยโดยอ้างอิงตามความเชื่อเกี่ยวกับสมมติเทพ โดยสมมติเทพที่ประชากรของไทยให้ความสำคัญก็คือระบอบแห่งกษัตริย์ ซึ่งในการเชิดชูกษัตริย์ก็จะต้องมีคน สัตว์ สิ่งของที่ต้องมาช่วยเสริมบารมีให้น่าเกรงขาม สัตว์ที่มีความเชื่อว่าเป็นคู่บุญบารมีของกษัตริย์ไทยนั้นเป็นช้างเผือก หากมองขึ้นไปบนท้องฟ้าเวลากลางคืนจะเห็นฝ้าสีขาวพาดผ่านอยู่บนพื้นท้องฟ้า จึงมีความเชื่อว่าสิ่งนั้นเป็นเส้นทางเดินของช้างเผือกที่เป็นคู่บารมีของสมมติเทพนั่นเอง                 แต่ในฝั่งตะวันตกก็จะมีชื่อเรียกกาแลกซี่นี้โดยอ้างอิงเกี่ยวกับความเชื่อต่อพระเจ้าอยู่เหมือนกัน ซึ่งเห็นได้จากชื่อสากลของกาแลกซี่นี้คือ The Milky Way Galaxy หรือจะแปลออกมาแบบตรงตัวก็คือกาแลกซี่ทางน้ำนม โดยอ้างอิงความเชื่อที่ว่าเป็นเส้นทางที่พระเจ้าได้เดินทางมาประทานน้ำนมให้แก่พระเยซูเนื่องในวันประสูติ ซึ่งแต่ละพื้นที่ในโลกเราก็จะมีความเชื่อเกี่ยวกับกาแลกซี่นี้ต่างออกไป เพียงแค่อาจจะไม่ได้มีการบันทึกแล้วนำออกมาเผยแพร่เป็นกิจลักษณะนั่นเอง สามารถพบ The Milky Way Galaxy ได้อย่างไร                 ท่านที่สนใจเกี่ยวกับดาราศาสตร์ก็จะทราบว่าวิธี สังเกต ทางช้างเผือก สามารถทำได้อย่างไร แต่สำหรับท่านที่อยากจะลองสังเกตดูบ้างแต่ยังไม่รู้วิธี จึงถือเป็นโอกาสดีที่จะได้นำเอาวิธีการสังเกตง่าย ๆ มาแบ่งปันแก่อีกหลาย ๆ คนที่ยังไม่รู้ […]

ทางช้างเผือก เปิดประตูเอกภพสู่ หนทางบนความเวิ้งว้างอันไกลโพ้น

ทางช้างเผือก เปิดประตูเอกภพสู่ หนทางบนความเวิ้งว้างอันไกลโพ้น

ทางช้างเผือก ดาวโลกที่เราอาศัยอยู่นี้เป็นเพียงส่วนเล็กน้อยของพื้นที่ไกลโพ้นไร้ขอบเขตที่เรานิยามกันว่าจักรวาล ซึ่งเป็นพื้นที่ที่เต็มไปด้วยกลุ่มของดวงดาวน้อยใหญ่ที่มีขนาดและชื่อเรียกต่างกันออกไป โดยเรียงจากขนาดที่ใหญ่ที่สุดตั้งแต่ระบบจักรวาล (Universe) ระบบดาราจักร (Galaxy ระบบสุริยะ (Solar System) และลดหลั่นขนาดลงไปจนถึงส่วนประกอบขนาดเล็กที่สุดในระบบจักรวาล อย่างเช่น อุกกาบาต ดาวหาง เป็นต้น                 ในชั้นบรรยากาศที่พวกเรากำลังดำเนินชีวิตอยู่นี้ก็เป็นส่วนประกอบหนึ่งของระบบสุริยะ ซึ่งนอกจากระบบสุริยะที่เราอาศัยอยู่นี้ยังมีระบบดวงดาวอื่นที่รวมตัวกันเป็นกลุ่มดวงดาวที่ใหญ่ขึ้นจนเป็นระบบดาราจักร หรือที่เรียกกันแบบติดปากว่ากาแลกซี่ โดยกาแลกซี่ที่มีชื่อคุ้นเคยหูเรามานานก็ต้องยกให้ ทางช้างเผือก นี่เอง เมื่อพูดมาถึงตรงนี้แล้วก็ถือโอกาสขยายความเกี่ยวกับระบบกาแลกซี่ที่ว่านี้ไปด้วยเลยดีกว่า ดาราจักรแสนยิ่งใหญ่ที่ไม่ได้มีแค่ให้ช้างเดิน                 ที่มาของชื่อ ทางช้างเผือก นั้นไม่ได้เกิดขึ้นเพราะมีดวงดาวที่เป็นรูปช้างรวมตัวกันอยู่แต่อย่างใด แต่ชื่อเรียกนี้ถูกกำหนดขึ้นมาในประเทศไทยโดยอ้างอิงตามความเชื่อเกี่ยวกับสมมติเทพ โดยสมมติเทพที่ประชากรของไทยให้ความสำคัญก็คือระบอบแห่งกษัตริย์ ซึ่งในการเชิดชูกษัตริย์ก็จะต้องมีคน สัตว์ สิ่งของที่ต้องมาช่วยเสริมบารมีให้น่าเกรงขาม สัตว์ที่มีความเชื่อว่าเป็นคู่บุญบารมีของกษัตริย์ไทยนั้นเป็นช้างเผือก หากมองขึ้นไปบนท้องฟ้าเวลากลางคืนจะเห็นฝ้าสีขาวพาดผ่านอยู่บนพื้นท้องฟ้า จึงมีความเชื่อว่าสิ่งนั้นเป็นเส้นทางเดินของช้างเผือกที่เป็นคู่บารมีของสมมติเทพนั่นเอง                 แต่ในฝั่งตะวันตกก็จะมีชื่อเรียกกาแลกซี่นี้โดยอ้างอิงเกี่ยวกับความเชื่อต่อพระเจ้าอยู่เหมือนกัน ซึ่งเห็นได้จากชื่อสากลของกาแลกซี่นี้คือ The Milky Way Galaxy หรือจะแปลออกมาแบบตรงตัวก็คือกาแลกซี่ทางน้ำนม โดยอ้างอิงความเชื่อที่ว่าเป็นเส้นทางที่พระเจ้าได้เดินทางมาประทานน้ำนมให้แก่พระเยซูเนื่องในวันประสูติ ซึ่งแต่ละพื้นที่ในโลกเราก็จะมีความเชื่อเกี่ยวกับกาแลกซี่นี้ต่างออกไป เพียงแค่อาจจะไม่ได้มีการบันทึกแล้วนำออกมาเผยแพร่เป็นกิจลักษณะนั่นเอง ส่วนประกอบของ The Milky Way Galaxy                The Milky […]